- 2.1 ศึกษาปัญหาของระบบ
จากการศึกษาปัญหาของระบบแจ้งซ่อมคอมพิวเตอร์และการเข้าซ่อม
2.1.1 การซ่อมคอมพิวเตอร์ระบบเดิมเสียเวลามาก เพราะถ้าเกิดมีลูกค้าแจ้งซ่อม จะต้องเดินจากห้องซ่อมบำรุงไปรับใบแจ้งซ่อมที่แผนก IT ทุกครั้ง
2.1.2 ข้อมูลในการแจ้งซ่อมสูญหายบ่อยเนื่องจากการแจ้งซ่อมระบบเก่าถ้าหากซ่อมนานๆหรือซ่อมไม่เสร็จจะใช้การเขียนปัญหาลงในกระดาษแล้วติดไว้ที่ เครื่อง อาจจะทำให้หลุดหายได้
2.1.3 สูญเสียเวลาในการหาข้อมูลของเครืองที่ซ่อมยังไม่เสร็จ เพราะของเดิมใช้บันทึกลงในสมุดอาจทำให้หาช้า
2.1.4 อุปกรณ์เครืองมือในการซ่อมสูญหายป่อย และ ต้องรออะไหล่นานมากในการซ่อม
2.1.5 การสรุปยอดรายรับ รายจ่าย ของแต่ละวัน/เดือน/ปี อาจทำผิดพลาดได้ 2.2 เสนอแนวทางแก้ไขปํญหา
แนวทางที่ 1
ใช้การส่งผ่านงานหรือข้อมูลที่ต้องแจ้งซ่อมทางระบบ LAN เช่น ส่งผ่านทาง Email เพื่อลดการเสียเวลาในการไปรับใบแจ้งซ่อมที่แผนกแนวทางที่ 2
แทนที่การบันทึกข้อมูลแบบเก่า(บันทึกด้วยการะดาษ) ด้วยการบันทึกด้วยคอมพิวเตอร์แทน แล้วส่งข้อไปปริ้นในแผนกซ่อมบำรุงแนวทางที่ 3
ใช้การจัดเก็บข้อมูลของลูกค้าด้วยการบันทึกไว้ในระบบ "ฐานข้อมูลลูกค้าออนไลน์" ด้วยโปรแกรม FoxBase+ Revision 2.00 เพื่อสะดวกแก่การแจ้งซ่อม และให้ลูกค้าสืบค้นข้อมูลของแต่ละบุคคล สามาถดูรายระเอียดในการซ่อมได้สะดวก ใช้โปรแกรมสำเร็จมาช่วย การบันทึกประวัติของลูกค้า,บันทึกรายการแจ้งซ่อม,บันทึกเครื่องมืออุปกรณ์ซ่อม และทำรายการสั่งซื้ออะไหล่ ,คำนวณคาซ่อม และใช้จ่ายต่างๆ2.3 ประเมินแนวทางที่นำเสนอ
2.3.1 ความเหมาะสมด้านเทคโนโลยี (Technically Fesible)
แนวทางที่ 1
ปัจจัยต่าง ๆ ด้านเทคโนโลยีมีพร้อมที่จะดำเนินงานตามแนวทางที่เสนอ
แนวทางที่ 2
ปัจจัยต่าง ๆ ด้านเทคโนโลยีมีพร้อมที่จะดำเนินงานตามแนวทางที่เสนอ
แนวทางที่ 3
ปัจจัยต่าง ๆ ด้านเทคโนโลยีมีพร้อมที่จะดำเนินงานตามแนวทางที่เสนอ2.3.2 ความเหมาะสมด้านการปฏิบัติ (Operational Feasibility)
แนวทางที่ 1
สามารถทำได้สะดวก ติดตั้งง่าย เป็นที่ยอมรับ
แนวทางที่ 2
สามารถทำได้สะดวก ติดตั้งง่าย เป็นที่ยอมรับ
แนวทางที่ 3
สามารถทำได้สะดวก ติดตั้งง่าย เป็นที่ยอมรับ2.3.3 ความเหมาะสมทางด้านการลงทุน (Economic Feasibility)
ตารางที่ 2.1 ประมาณต้นทุนกำไร งาน
ตารางที่ 2.2 ประมาณค่าใช้จ่ายเนื้อหาสำหรับแนวทางต่าง ๆ
ตารางที่ 2.3 วิเคราะห์มูลค่าปัจจุบันของแนวทางที่ 1
ตารางที่ 2.4 วิเคราะห์มูลค่าปัจจุบันของแนวทางที่ 2
ตารางที่ 2.5 วิเคราะห์มูลค่าปัจจุบันของแนวทางที่ 32.3.4 วิเคราะห์ระยะเวลาในการคืนทุน
แนวทางที่ 1 ระยะเวลาคืนทุนปีที่ 5
แนวทางที่ 2 ระยะเวลาคืนทุนปีที่ 4
แนวทางที่ 3 ระยะเวลาคืนทุนปีที่ 6
เลือกแนวทางที่เหมาะสมที่สุด
เนื่องจากแนวทางทั้ง 3 แบบ เป็นแนวทางที่เหมาะสมทั้งในด้านเทคโนโลยี ด้านการปฏิบัติ และด้านการลงทุน แต่เมื่อพิจารณาการใช้แนวทางที่ 2 มีระยะเวลาในการคืนทุนช้ากว่าแนวทางที่ 1 ส่วนแนวทางที่ 3 นั้น มีปัญหาในเรื่องของโปรแกรมประยุกต์ฯ ที่มีราคาสูง จึงทำให้ระยะเวลา ในการคืนทุนล่าช้าที่สุด เมื่อพิจาณาแนวทางที่ 2 แล้วมีระยะเวลาในการคืนทุนเพียง 4 ปีเท่านั้น แม้ว่าการลงทุนแรกเริ่มจะสูงกว่าแนวทางที่ 1 เล็กน้อย แต่ผลประกอบการในระยะยาวมีแนวโน้มที่สูงกว่าทั้ง 3 แนวทาง ดังนั้น แนวทางที่ 2 จึงเป็นแนวทางที่เหมาะสมที่สุดในการระบบแจ้งซ่อม คอมพิวเตอร์ออนไลน์และเข้าทำการซ่อม
วันจันทร์ที่ 23 มิถุนายน พ.ศ. 2551
บทที่ 2
วันจันทร์ที่ 16 มิถุนายน พ.ศ. 2551
บทที่ 1
- ชื่อโครงงาน ระบบแจ้งซ่อม คอมพิวเตอร์ออนไลน์และเข้าทำการซ่อม
1 . ความเป็นมาและความสำคัญของปัญหา
เนื่องจากในปัจจุบันการซ่อมคอมพิวเตอร์ยังเป็นปัญหาในการส่ง Job งานอยู่เพราะจะต้องกลับไปรับงานที่ host ซึ่งเป็น
การสูญเสียเวลามาก ดังนั้น กลุ่มของผมจึงได้พัฒนาคิดออกแบบระบบนี้ขึ้น เพื่อพัฒนาระบบซ่อมให้มีประสิทธิภาพ และความ
สะดวกรวดเร็วในการรับแจ้งงานซ่อมและ ลดการสูญหายของปัญหาที่แจ้งซ่อม สามารถดำเนินงานต่อเนื่องโดยที่ไม่ต้องกลับไป
รับงานที่ host และสามารถเก็บรายละเอียดสรุปของข้อมูลงานซ่อมในแต่ละวัน /เดือน/ปี ซึ่งสิ่งเหล่านี้คือจะเก็บเป็นเอกสาร
ใบงานของลูกค้าที่ส่งมาซ่อมซึ่งจะใช้พื้นที่ในการเก็บมากและลดการใช้กระดาษอีกด้วย
2 . วัตถุประสงค์
2.1 เพื่อพัฒนาระบบแจ้งซ่อมให้มีประสิทธิภาพ
2.2 เพื่อความสะดวกรวดเร็วในการรับแจ้งงานซ่อม
2.3 ลดการสูญหายของปัญหาที่แจ้งซ่อม
2.4 สามารถดำเนินงานต่อเนื่องโดยที่ไม่ต้องกลับไปรับงานที่ host
2.5 สามารถเข้าซ่อมโดยรู้ปัญหาก่อนร่วงหน้า และ สามารถจัดหาอุปกรณ์ได้เร็วขึ้น
2.6 เพื่อเก็บรายละเอียดของข้อมูลงานซ่อมในแต่ละวัน /เดือน/ปี
3 . ขอบเขตของระบบ
3.1 ประวัตของลูกค้าแต่ละคน
3.2 ประวัตการซ่อมของลูกค้า
3.3 รายละเอียดของราคาในการซ่อมของอุปกรณ์แต่ละชิ้น
3.4 คำนวณค่าซ่อมของลูกค้าแต่ละคน
3.5 รายรับในแต่ละวัน ทำข้อมูลสรุปยอดรายวัน/เดือน/ปี
3.6 ทำรายงานค่าซ่อมทั้งหมดให้ลูกค้าทราบ
3.7 สรุปยอดรายวัน/เดือน/ปีได้
5. ขั้นตอนการดำเนินงาน
6 . ประโยชน์ที่จะได้รับ
6.1 สามารถพัฒนาระบบให้มีประสิทธิภาพ
6.2 สามารถลดการสูญหายของปัญหาที่แจ้งซ่อม
6.3 สามารถสะดวกรวดเร็วในการรับแจ้งงานซ่อม และการเข้าซ่อมแก้ปัญหาได้สะดวกเร็วขึ้น
6.4 สามารถดำเนินงานได้ต่อเนื่อง และสามารถสรุปรายละเอียดของข้อมูลงานซ่อมในแต่ละวัน /เดือน/ปี ได้
วันเสาร์ที่ 14 มิถุนายน พ.ศ. 2551
สมาชิกในกลุ่ม
นายฉัตรชัย พรยิ่ง รหัส 4924207010
นายยอดรัก สอนสี รหัส 4924207020
นายอภิรักษ์ พันธุ์โชติ รหัส 4924207023
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)